ภาษีนำเข้าคืออะไรและคำนวณภาษีนำเข้าอย่างไร
อัพเดทล่าสุด: 10 ม.ค. 2025
70 ผู้เข้าชม
ภาษีนำเข้า
ภาษีนำเข้า หรือภาษีศุลกากรเป็นภาษีที่รัฐบาลจะเรียกเก็บจากผู้นำเข้า ไม่ว่าจะนำเข้ามาทางน้ำ ทางบกหรือทางอากาศก็ตาม เพื่อนำไปพัฒนาประเทศในลำดับต่อไป สินค้าแต่ละประเภทจะมีอัตราภาษีนำเข้าที่แตกต่างกันหรือเรียกว่าพิกัดภาษี อย่างไรก็ตาม ภาษีนำเข้าสินค้าบางประเภท ทางรัฐบาลก็ได้มีการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมด้วยการยกเว้นภาษีนำเข้าให้กับเครื่องจักรการผลิต เพื่อส่งเสริมการลงทุน ภาษีศุลกากรนั้นถือได้ว่าเป็นภาษีทางอ้อมที่ผู้เสียภาษีสามารถผลักภาระไปให้กับผู้บริโภคได้
การเก็บภาษีศุลกากรหรือภาษีนำเข้านั้น นอกจากเป็นการหารายได้เพื่อนำมาพัฒนาประเทศแล้ว ก็ยังเป็นการคุ้มกันอุตสาหกรรมภายในเพื่อให้สินค้านำเข้ามีราคาสูงกว่าสินค้าที่ผลิตในประเทศ กล่าวคือเมื่อสินค้านำเข้ามีราคาสูง ผู้บริโภคก็จะหันมาสนับสนุนสินค้าที่ผลิตจากอุตสาหกรรมภายในประเทศนั่นเอง
CIF คืออะไร ใช้ในการคำนวณภาษีนำเข้าอย่างไร
คำถามที่หลายคนสงสัยเราจะต้องเสียภาษีนำเข้าเมื่อใด การเสียภาษีอากรจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสินค้าเดินทางไปถึงปลายทาง แล้วปรากฏว่าสินค้ามีมูลค่าเกินหลักเกณฑ์ที่ประเทศปลายทางกำหนดจะต้องมีการเรียกเก็บภาษีก่อนที่จะนำเข้าสินค้ามายังประเทศนั้นๆ โดยปกติแล้วการเสียภาษีนำเข้าเป็นความรับผิดชอบของผู้รับสินค้า ถ้าอยากรู้ว่าต้องเสียภาษีเท่าไหร่ ก็ต้องทำความรู้จักกับ CIF ก่อน คำนวณค่าภาษีนำเข้า
คำถามที่หลายคนสงสัยเราจะต้องเสียภาษีนำเข้าเมื่อใด การเสียภาษีอากรจะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อสินค้าเดินทางไปถึงปลายทาง แล้วปรากฏว่าสินค้ามีมูลค่าเกินหลักเกณฑ์ที่ประเทศปลายทางกำหนดจะต้องมีการเรียกเก็บภาษีก่อนที่จะนำเข้าสินค้ามายังประเทศนั้นๆ โดยปกติแล้วการเสียภาษีนำเข้าเป็นความรับผิดชอบของผู้รับสินค้า ถ้าอยากรู้ว่าต้องเสียภาษีเท่าไหร่ ก็ต้องทำความรู้จักกับ CIF ก่อน คำนวณค่าภาษีนำเข้า
C = Cost (ต้นทุน)
I = Insurance (ประกันภัย)
F = Freight (ค่าขนส่ง)
การคำนวณอัตราภาษีขึ้นอยู่กับมูลค่าของสินค้าที่ต้องเสียภาษี สำหรับการคำนวณจะดูที่หมายเลข ซึ่งกำหนดไว้ในแต่ละประเภทสินค้าเรียกว่าพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ ชื่อย่อ HS Code
I = Insurance (ประกันภัย)
F = Freight (ค่าขนส่ง)
การคำนวณอัตราภาษีขึ้นอยู่กับมูลค่าของสินค้าที่ต้องเสียภาษี สำหรับการคำนวณจะดูที่หมายเลข ซึ่งกำหนดไว้ในแต่ละประเภทสินค้าเรียกว่าพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ ชื่อย่อ HS Code
การคำนวณภาษีนำเข้าสามารถใช้สูตรคำนวณได้ดังนี้
มูลค่ารวมของสินค้า CIF x อัตราอากรขาเข้า (%) = อากรขาเข้า (5%, 10%, 20% หรือ 30% ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้าหรือพิกัดสินค้า)
(มูลค่ารวม CIF + อากรขาเข้า) x อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม Vat % = ภาษีมูลค่าเพิ่ม
นำอากรขาเข้า + ภาษีมูลค่าเพิ่ม = มูลค่ารวมภาษีขาเข้าที่ต้องชำระ
หลายๆ คนอาจคิดว่าถ้าเราตั้งราคาสินค้าถูกหรือฮั้วกันกับผู้ส่งในต่างประเทศให้กำหนดราคาสินค้าต่ำ เพื่อจะได้เสียภาษีนำเข้าไม่สูง ในความเป็นจริงแล้วไม่สามารถทำได้เพราะทุกครั้งที่มีสินค้าหรือพัสดุเข้ามาจากต่างประเทศจะต้องผ่านการตรวจประเมินราคาโดยกรมศุลกากร ดังนั้น จึงเป็นไปได้ยากที่ผู้ส่งและผู้รับจะฮั้วกันโดยการกำหนดราคาที่ไม่เป็นจริง
มูลค่ารวมของสินค้า CIF x อัตราอากรขาเข้า (%) = อากรขาเข้า (5%, 10%, 20% หรือ 30% ขึ้นอยู่กับประเภทสินค้าหรือพิกัดสินค้า)
(มูลค่ารวม CIF + อากรขาเข้า) x อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม Vat % = ภาษีมูลค่าเพิ่ม
นำอากรขาเข้า + ภาษีมูลค่าเพิ่ม = มูลค่ารวมภาษีขาเข้าที่ต้องชำระ
หลายๆ คนอาจคิดว่าถ้าเราตั้งราคาสินค้าถูกหรือฮั้วกันกับผู้ส่งในต่างประเทศให้กำหนดราคาสินค้าต่ำ เพื่อจะได้เสียภาษีนำเข้าไม่สูง ในความเป็นจริงแล้วไม่สามารถทำได้เพราะทุกครั้งที่มีสินค้าหรือพัสดุเข้ามาจากต่างประเทศจะต้องผ่านการตรวจประเมินราคาโดยกรมศุลกากร ดังนั้น จึงเป็นไปได้ยากที่ผู้ส่งและผู้รับจะฮั้วกันโดยการกำหนดราคาที่ไม่เป็นจริง
เทคนิคเล็กน้อยในการสั่งของแบบไม่เสียภาษีแบบถูกต้อง
ถึงแม้ว่าคุณจะไม่สามารถฮั้วกันกับผู้ส่งออกได้ เพื่อให้เสียภาษีนำเข้าน้อยลง แต่เราก็มีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการสั่งของแบบไม่เสียภาษีมาฝาก ซึ่งเป็นเทคนิคที่ถูกต้องไม่ผิดกฎหมาย ส่วนจะมีเทคนิคไหนบ้างมาดูกัน
ถึงแม้ว่าคุณจะไม่สามารถฮั้วกันกับผู้ส่งออกได้ เพื่อให้เสียภาษีนำเข้าน้อยลง แต่เราก็มีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการสั่งของแบบไม่เสียภาษีมาฝาก ซึ่งเป็นเทคนิคที่ถูกต้องไม่ผิดกฎหมาย ส่วนจะมีเทคนิคไหนบ้างมาดูกัน
สั่งสินค้าไม่เกิน 1,500 บาท
เทคนิคง่ายๆ เพื่อไม่ให้เสียภาษีนำเข้าในกรณีที่คุณสั่งสินค้ามาจากต่างประเทศ ก็ต้องคำนวณให้ดีว่าสินค้ามีมูลค่าเท่าไหร่ โดยไม่ควรสั่งสินค้าที่มีมูลค่าเกิน 1,500 บาท เนื่องจากกรมศุลกากรได้กำหนดราคาสินค้าทุกชนิด ที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,500 บาท จะได้รับการยกเว้น โดยไม่ต้องจ่ายภาษีอากรนำเข้า สำหรับใครที่สั่งสินค้าราคาไม่เกิน 1,500 บาท ก็วางใจไปได้เลยสามารถนำเข้าสินค้าได้โดยไม่เสียภาษีอากรขาเข้าแน่นอน
เทคนิคง่ายๆ เพื่อไม่ให้เสียภาษีนำเข้าในกรณีที่คุณสั่งสินค้ามาจากต่างประเทศ ก็ต้องคำนวณให้ดีว่าสินค้ามีมูลค่าเท่าไหร่ โดยไม่ควรสั่งสินค้าที่มีมูลค่าเกิน 1,500 บาท เนื่องจากกรมศุลกากรได้กำหนดราคาสินค้าทุกชนิด ที่มีมูลค่าไม่เกิน 1,500 บาท จะได้รับการยกเว้น โดยไม่ต้องจ่ายภาษีอากรนำเข้า สำหรับใครที่สั่งสินค้าราคาไม่เกิน 1,500 บาท ก็วางใจไปได้เลยสามารถนำเข้าสินค้าได้โดยไม่เสียภาษีอากรขาเข้าแน่นอน
ใช้บริการ Shipping
ถ้าไม่อยากเสียภาษีนำเข้า แนะนำให้สั่งของจากต่างประเทศแล้วใช้บริการผ่าน Shipping โดย Shipping อาจเป็นบริษัท องค์กรหรือบุคคลที่เป็นตัวแทนนำเข้าสินค้า ทำหน้าที่ติดต่อประสานงานด้านเอกสาร สำหรับการนำเข้าหรือการส่งออกสินค้า โดยติดต่อกับกรมศุลกากรผ่านพิธีการศุลกากร นอกจากนั้นก็ยังมีบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าและการส่งออกด้วย เช่น การประสานงานกับบริษัทขนส่ง ในภาษาทางการ Shipping จะถูกเรียกว่า ตัวแทนออกของ สำหรับคนที่สั่งของเกิน 1,500 บาท ถ้าใช้บริการ Shipping ระหว่างประเทศ คุณก็จ่ายแค่ค่าขนส่งเพียงอย่างเดียวและวางใจในเรื่องของภาษีไปได้เลยเพราะคุณไม่ต้องจ่ายแน่นอน Shipping จะมีหน้าที่เคลียร์ของหรือเคลียร์สินค้าให้คุณทั้งหมด แถมยังสะดวก ง่ายดาย และสบายกระเป๋า มีการรับประกันของหายให้อีกด้วย
ถ้าไม่อยากเสียภาษีนำเข้า แนะนำให้สั่งของจากต่างประเทศแล้วใช้บริการผ่าน Shipping โดย Shipping อาจเป็นบริษัท องค์กรหรือบุคคลที่เป็นตัวแทนนำเข้าสินค้า ทำหน้าที่ติดต่อประสานงานด้านเอกสาร สำหรับการนำเข้าหรือการส่งออกสินค้า โดยติดต่อกับกรมศุลกากรผ่านพิธีการศุลกากร นอกจากนั้นก็ยังมีบริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าและการส่งออกด้วย เช่น การประสานงานกับบริษัทขนส่ง ในภาษาทางการ Shipping จะถูกเรียกว่า ตัวแทนออกของ สำหรับคนที่สั่งของเกิน 1,500 บาท ถ้าใช้บริการ Shipping ระหว่างประเทศ คุณก็จ่ายแค่ค่าขนส่งเพียงอย่างเดียวและวางใจในเรื่องของภาษีไปได้เลยเพราะคุณไม่ต้องจ่ายแน่นอน Shipping จะมีหน้าที่เคลียร์ของหรือเคลียร์สินค้าให้คุณทั้งหมด แถมยังสะดวก ง่ายดาย และสบายกระเป๋า มีการรับประกันของหายให้อีกด้วย
BY : Jim
ที่มา : https://packhai.com/import-tax/
บทความที่เกี่ยวข้อง
คาร์บอนเครดิต คือ สิทธิที่เกิดจากการลดปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ ก๊าซเรือนกระจกสู่สิ่งแวดล้อม โดยเป็นการแปลงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดลงให้เป็นหน่วยกลางคือคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (tCO2e) ซึ่งสามารถซื้อขายได้ในตลาดคาร์บอน
5 ก.พ. 2025
เครื่องบินเป็นยานพาหนะสำคัญในการขนส่งทั้งผู้โดยสารและสินค้าทั่วโลก เนื่องจากมีความเร็วและสามารถเดินทางข้ามระยะทางไกลได้อย่างรวดเร็ว เครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งมีหลายประเภท ซึ่งแบ่งได้ตามวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ดังนี้
4 ก.พ. 2025
ต้องการทราบวิธีป้องกันความชื้นไม่ให้เข้าไปในภาชนะจัดเก็บหรือไม่ เรียนรู้สาเหตุที่ทำให้เกิดการควบแน่นของหยดน้ำในภาชนะจัดเก็บ และวิธีป้องกันที่ได้ผลที่สุด
4 ก.พ. 2025